ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ ขุนพิสิฐนนทเดช

ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ 
ขุนพิสิฐนนทเดช
ณ เมรุวัดโสมนัสวรวิหาร
15 พฤษภาคม 2521


ชื่อเรื่อง :
ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ ขุนพิสิฐนนทเดช ณ เมรุวัดโสมนัสวรวิหาร 15 พฤษภาคม 2521

ชื่อเรื่องอื่นๆ :
-

คำสำคัญ :
คนผัดหมี่, เสด็จประพาสต้น, นักเรียนวัด, ล็อค, ประตูน้ำ, แป๊ะกง, การเศรษฐกิจ พ.ศ. 2450, ผู้จัดการสถานกาแฟนรสิงห์, ครูฮวด แสงละออ, เสรีไทย, วัดพิสิฐบูรณาราม (นครราชสีมา), สนามบินลับที่คลองไผ่ นครราชสีมา, สงครามโลกครั้งที่ 2, นักโทษชาวจีน, คุกไทย, เรือนจำไทย, บุญมี มกรเสน, กรมราชทัณฑ์

คำบรรยาย :
ประวัติผู้วายชนม์, ภาพผู้วายชนม์ในช่วงต่างๆ, บันทึกความจำ ชีวประวัติ, ผลงานผู้วายชนม์, คำไว้อาลัย, สรรพคุณยาจินดามณี, สมุนไพรน่าใช้, นามานุกรมสมุนไพร

ผู้ตีพิมพ์ / โรงพิมพ์ :
มงคลการพิมพ์ บางลำภู กรุงเทพฯ

จำนวนหน้า :
112 หน้า

สารบัญ / หัวเรื่องเนื้อหา :
- บันทึกความจำ ชีวประวัติ ของขุนพิสิฐนนทเดช
- ฝันร้ายของข้าพเจ้า / นาวาเอก พระยาศราภัยพิพัฒน์ ร.น. (เลื่อน ศราภัยวานิช)
- บันทึกการเสรีไทย ทำสนามบินลับและฝึกอาวุธ สงครามโลกครั้งที่ 2 ที่คลองไผ่ จังหวัดนครราชสีมา / ขุนพิสิฐนนทเดช (บุญมี มกรเสน)
- สันติบาลใต้ดิน / ชลอ ศรีศรากร
- ขบวนเสรีไทย / โดย นายฉันทนา
- เรือนหอที่ต้องขาดจากสังคม / ชาญชัยศรี พลกุล เรียบเรียง
- 3 ชั่วโมง ในแดนอาชญากร / ชาญชัยศรี พลกุล
- 30 วันในกรงเหล็ก / ร.ท. สมพันธ์ ขันธะชวนะ
- ประวัติวัดพิสิฐบูรณาราม ตำบลคลองไผ่ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา












                

                

 

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ชื่อ "กระทุ่มแบน" มาจากไหน

"บ้านน้องอยู่ที่ไหนนะ?" "กระทุ่มแบนครับ" "แล้ว กระทุ่มแบน เนี่ย ทำไมมันถึงชื่อนี้?" "อืม..ไม่แน่ใจ...ไม่ทราบเลยครับ" เชื่อได้ว่าคนกระทุ่มแบนหลายคนคงจะคุ้นเคยกับบทสนทนาประมาณข้างต้น ที่ตอบได้เพียงคำถามแรก แต่เมื่อถึงคำถามที่สอง เซลล์สมองอาจต้องวิ่งทำงานเหนื่อยกันเลยทีเดียว สุดท้ายบางคนตอบได้ บางคนเดาไป บางคนถามกลับว่า "อยากจะรู้ไปทำไม" สำหรับผมแล้ว... "กระทุ่มแบน...ทำไมมันถึงชื่อนี้" มันเป็นคำถามที่ค้างคาใจมาหลายปี จนกระทั่งวันที่พอจะมีกำลังและเวลา รวมถึงความพร้อมประกอบอื่นๆ ทำให้ได้ออกค้นหาคำตอบเสียที ภาพแผนที่ตัดเฉพาะส่วนจากกรมแผนที่ทหารบกสำรวจเมื่อ พ.ศ. 2456 ภาพจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

เปิดตำนาน "ร้านถ่ายรูปแห่งแรกของกระทุ่มแบน"

หากค้นรูปถ่ายติดบัตรขาวดำเก่าๆ ยุค 2500 ที่บ้านของคนกระทุ่มแบนขึ้นมาดู ผมเชื่อว่ากว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของรูปถ่ายเหล่านั้น บนมุมซ้ายหรือขวาด้านล่างของรู ปจะต้องมีตราประทับแบบนูนของร้ านถ่ายรูปแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นร้านที่นิยมและได้รั บความไว้วางใจจากชาวกระทุ่ มแบนมาอย่างยาวนาน นั่นคือ "ห้องภาพชูศิลป์ : ร้านถ่ายรูปแห่งแรกของกระทุ่ มแบน" หลังจากหาเวลานัดหมายกับห้องภาพชูศิลป์ ให้จังหวะลงตัวกับวันที่ ผมพอจะว่างจากทั้ งงานประจำและงานพิเศษในวันหยุ ดเสาร์-อาทิตย์เรียบร้อย ผมจึงได้มีโอกาสฟังเรื่องราวดีๆ จากทายาทผู้ก่อตั้ง "ห้องภาพชูศิลป์" ในวันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม 2562 คุณพวงเพ็ญ โภคฐิติยุกต์ หรือ "ป้าเช็ง" ลูกสาวคนโตของเจ้าของห้องภาพชูศิลป์ เกิดเมื่อ พ.ศ. 2492 ได้บอกเล่าให้ผมได้ฟังด้วยรอยยิ้ มอารมณ์ดีถึงประวัติห้องภาพชูศิลป์ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งในรุ่นของคุ ณพ่อและคุณแม่  คุณพ่อมีลูก 5 คน คือ คุณป้าเป็นคนโต มีน้องชาย 3 คน และน้องสาวคนเล็กอีกคน   คุณพวงเพ็ญ โภคฐิติยุกต์ หรือ "ป้าเช็ง" จุดเริ่มต้นของอาชีพถ่ายภาพ คุณแม่ป้าเช็งชื่อ ...

กว่า ๙๐ ปี "ร้านกิมกี่" และเรื่องเล่าจากเจ้าของร้าน

ตลาดกระทุ่มแบนเป็นอีกหนึ่งชุมชนอันเป็นศูนย์กลางด้านการค้าที่สำคัญมาหลายร้อยปีในอำเภอกระทุ่มแบน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บ้านเรือนที่ตั้งอยู่ตามแนวคลองภาษีเจริญในบริเวณตลาด ใกล้กับจุดที่คลองกระทุ่มแบนตัดผ่านกับคลองภาษีเจริญ หรือคนเก่าๆ ในพื้นที่เรียกกันว่า “ตลาดสี่แยก” หรือ “ตลาดสี่กั๊ก” อันเป็นตลาดน้ำที่คนรุ่นเกิดก่อนปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ได้บอกเล่ากันเป็นเสียงเดียวว่ามีความคึกคัก มีเรือแน่นเป็นร้อยลำทั้งเรือพ่อค้าแม่ค้า และเรือชาวบ้านที่มาจับจ่ายซื้อของในยามเช้า เรือนไม้ริมคลองบริเวณถนนเจริญสวัสดิ์นับตั้งแต่สามแยกโรงพิมพ์วิไลพาณิชย์ยาวเรื่อยไปจนถึงศาลหลวงตาทองก็จะเป็นห้องแถวไม้เก่าที่เป็นแถวแนวยาว บางส่วนมีการก่อสร้างขึ้นในยุค ๒๔๙๐ แต่บางส่วนก็มีการก่อสร้างมาก่อนหน้านั้น มีห้องแถวอยู่ช่วงหนึ่งฝั่งตลาดบริเวณเชิงสะพานแป๊ะกง หรือที่หลายคนเรียกกันอีกชื่อว่า “ตลาดบุญมี” ที่ยังคงสภาพความเป็นเรือนไม้เก่าที่ขนาบข้างด้วยอาคารคอนกรีตที่ปลุกขึ้นมาทดแทน ทำให้ผมได้มีโอกาสได้พอเห็นสภาพเดิมของห้องแถวรุ่นแรกๆ ของตลาดกระทุ่มแบนอยู่บ้าง แต่จะมีอยู่ร้านหนึ่งที่มีป้ายระบุอายุร้านชั...